วันมาฆบูชา ณ วัดพระธรรมกาย
สรุปพิธีกรรมในวันมาฆบูชา 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2553 ณ วัดพระธรรมกาย
มาฆบูชา 2551
มหาโควินทสูตร (ตอนที่ 4 โชติบาลกุมาร)
ความดี คนดีทำง่าย ความดี คนชั่วทำยาก ความชั่ว คนชั่วทำง่าย ความชั่ว อริยบุคคลทำได้ยาก
ผม...เคยคิดจะมาเผาวัดพระธรรมกาย
" ผม...เคยคิดจะมาเผาวัด เคยพูดกับนายพลระดับบิ๊กๆ ว่าทำไมพี่ปล่อยวัดพระธรรมกายให้โตมาถึงขนาดนี้ "
คารวะ ๖
ศัพท์ว่า "คารวะ" แปลกันว่า ความเคารพ หมายถึงความเอื้อเฟื้อ มักจะพูดติดต่อกันว่า ความเคารพเอื้อเฟื้อและมักจะใช้คู่กับคำว่า "นับถือบูชา" โดยความหมาย ก็คือ การปฏิบัติดีปฏิบัติชอบยกย่องเชิดชู ไม่ลบหลู่ดูหมิ่น ในบุคคลนั้นๆ และในธรรมนั้นๆ
อานิสงส์ทำอัญชลีบูชา
เราเป็นไข้หนักนั่งอยู่ที่โคนไม้ในป่าชัฏใหญ่ เป็นผู้ควรได้รับความกรุณาอย่างยิ่ง พระศาสดาพระนามว่า ติสสะ ทรงอนุเคราะห์ เสด็จมาหาเรา เรานั้นนอนอยู่ ได้ประณมอัญชลีเหนือเศียรเกล้า เรามีจิตเลื่อมใส มีใจโสมนัส ถวายบังคมพระสัมพุทธเจ้าผู้สูงสุดกว่าสรรพสัตว์ แล้วได้ทำกาละ ณ ที่นั้น ในกัปที่ ๙๒ แต่กัปนี้ เราถวายบังคมพระพุทธเจ้าผู้อุดมบุรุษ ด้วยกรรมนั้น เราไม่รู้จักทุคติเลย
มหาอุกกุสชาดก ชาดกว่าด้วยการผูกมิตร
บุคคลพึงคบมิตรสหายและเจ้านายไว้ เพื่อได้รับความสุข เรากำจัดศัตรูได้ด้วยกำลังแห่งมิตร เป็นผู้พร้อมเพรียงด้วยบุตรทั้งหลาย บันเทิงอยู่เหมือนเกราะที่บุคคลสวมแล้ว ป้องกันลูกศรทั้งหลายได้ ฉะนั้น